๑. การนัดตรวจ
- ประเมินการเตรียมตัวผู้ป่วยห้องเอกซเรย์ทั่วไป
ห้องอัลตร้าซาวด์ ห้องหัตถการทางรังสี
- การพยาบาลและเตรียมผู้ป่วยเข้ารับการตรวจโดยการ
ประเมินด้าน จิตใจ ด้านร่ายกาย เช่นการซักประวัติ
การแพ้ยา แพ้อาหาร แพ้สาร ทึบรังสีและโรคประจำตัว
- ตรวจสอบผล Lab, Film
- อธิบายขั้นตอนการตรวจและให้เซ็นต์ใบยินยอมการตรวจ
- การเตรียมสารทึบรังสี (contrast media) ให้รังสีแพทย์
- การ Obseve Vital sign และอาการของผู้ป่วยขณะตรวจ
การให้ยา แก้ปวด หรือยาแก้แพ้ตามคำสั่งของรังสีแพทย์
- การพยาบาลหลังการตรวจให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลัง
การตรวจ สังเกตุอาการแพ้ อาการผิดปกติต่าง ๆ และ
บันทึกสถิติการตรวจ การแพ้สารทึบรังสี
- ตรวจสอบเอกสารใบส่งตรวจ
- ให้คำแนะนำเกี่ยวกับโรคและวิธีการตรวจวินิจฉัย โดยการ
แจกแผ่นพับอธิบายให้ความรู้
- ประสานการตรวจกับแพทย์ รังสีแพทย์ นักรังสีการแพทย์
และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
๒. การเตรียมตรวจก่อนรับการตรวจ
- การประเมินความพร้อมด้านร่ายกาย ได้แก่ โรคประจำตัว
การตั้งครรภ์ ประวัติการแพ้ยา แพ้อาหาร และสารทึบรังสี
Vital sign,Blood sugar การงดน้ำ อาหาร ยก Pre-med
- ตรวจสอบความพร้อมของผลตรวจต่างๆ ได้แก่ Lab, Film
- การประเมินความพร้อมด้านจิตใจ ความกลัว ความวิตก
กังวล
- ประเมินความเสียงอันตรายทางรังสี และ แนวทางป้องกัน
- ประเมินความเสียงด้านการพลัดตกหกล้ม และ แนวทาง
ป้องกัน
- อธิบายขั้นตอนการตรวจ การปฏิบัติตนขณะตรวจ และ
หลังการตรวจและให้ผู้ป่วยเซ็นต์ใบยินยอมทำการตรวจรักษา
- เตรียมสารทึบรังสี (contrast media) และประสานงาน
กับแพทย์ในกรณีที่ผู้ป่วยมีความเสี่ยงจากการใช้สารทึบรังสี
- ตรวจสอบความพร้อมของรถ Emergency ทุกวัน เพื่อ
พร้อมใช้ในกรณีฉุกเฉิน
๓. การพยาบาลขณะตรวจ
- จัดเตรียมอุปกรณ์การตรวจ (operation set preparation)
- เตรียมผิวหนังและความสะอาดบริเวณที่ทำการตรวจ
(Skin preparation)
- เตรียมสารทึบรังสี (contrast media) ให้รังสีแพทย์
- เปิดเส้นเลือดดำสำหรับการตรวจ
- สวนปัสสาวะ อุจจาระในกรณีจำเป็นสำหรับการตรวจ
- Observe Vital sign และอาการของผู้ป่วยขณะตรวจและให้
การพยาบาลอย่างใกล้ชิด สังเกตอาการแพ้ อาการผิดปกติต่าง ๆ
และให้การพยาบาลช่วยเหลือจนเสร็จสิ้นการตรวจ
- ให้ยาแก้ปวดหรือยาแก้แพ้ตามคำสั่งของรังสีแพทย์ โดยอธิบายถึง
ความจำเป็นที่ให้ยา และอาการที่อาจเกิดจากการได้รับยา
๔. การพยาบาลหลังการตรวจ
- ให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังการตรวจ
- ให้คำแนะนำการติดต่อรับผลตรวจ การมาตรวจตามนัด
- บันทึกข้อมูลผู้ป่วยแพ้สารทึบรังสีใน "ใบบันทึกการแพ้ยา
Contrast Media" พร้อมกับส่งเวรให้พยาบาลของแผนกที่ผู้ป่วย
จะไปติดต่อทราบ
- บันทึกสถิติจำนวนผู้ป่วยที่มารับการตรวจ การแพ้สารทึบรังสี
- เตรียมพร้อมความพร้อมใช้ของอุปกรณ์เครื่องมือทางการแพทย์
- เป็นกรรมการ/อนุกรรมการ ในคณะทำงานของรังสีวิทยา หรือ
ตามที่ได้รับมอบหมาย
- เข้าร่วมประชุม/อบรม เพื่อพัฒนางาน พัฒนาตนเอง
|