๑. ด้านการบริหารจัดการทั่วไป
๑.๑ ต้อนรับและจัดลำตับการบริการของผู้มารับบริการ
๑.๒ แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าที่เกิดจาการบริการพยาบาลให้สอดคลัองกับสถานการณ์ตามศักยภาพ มีการประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง ทีมในการดูแลผู้รับบริการ
๑.๓ จัดเตรียม/จัดหาเครื่องมือ เครื่องใช้ วัสดุ ครุภัณฑ์ให้มีเพียงพอและพร้อมใช้อยู่เสมอรวมทั้งการใช้อย่างประหยัดและคุ้มคำ
๑.๔ ตรวจเช็คความพร้อมและช่วยจัตเตรียมเวชภัณฑ์ วัสดุ อุปกรณ์ สำหรับช่วยฟื้นชีวิตให้พร้อมตามแนวทางที่กำหนด
๑.๕ ปฏิบัติตามนโยบายคุณภาพความปลอดภัยของผู้รับบริการและผู้ให้บริการของหน่วยงานให้สอดคล้องกับนโยบายของโรงพยาบาล
๒. ด้านการบริการทางการพยาบาล
๒.๑ ให้คำปรึกษาและคำแนะนำเบื้องต้นแก่ผู้ป่วยที่มาติดต่อสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจทางโรคหัวใจ ทางโทรศัพท์ และผู้มาติตต่อโดยตรง
๒.๒ ให้การพยาบาลชั้นพื้นฐาน เช่น การวัด vital signs, การประเมินระดับความรู้สึกตัว, การดูแลผู้ป่วยก่อนสวนหัวใจ ขณะสวนหัวใจ และหลังได้รับการสวนหัวใจ ดูแลและบันทึกอาการการรักษาต่างๆ ที่ผู้ป่วยได้รับ ดูแลให้ยาและสารน้ำแก่ผู้ป่วยตามคำสั่งแพทย์
๒.๓ ช่วยแพทย์ในการทำหัตถการ ต่างๆเกี่ยวกับการสวนหัวใจและหลอดเลือด ทั้งตำแหน่งช่วยเหลือโดยรอบ และการเข้าช่วยในตำแหน่ง scrub nurse
๒.๔ ทำหน้าที่ควบคุมและบันทึก hemodynamic ต่างๆ บันทึกกราฟความตันในห้องหัวใจ, จดบันทึกทางการพยาบาลที่เกิดขึ้นขณะทำหัตถการสวนหัวใจ และรายงานแพทย์ได้กรณีเกิดภาวะผิดปกติ
๒.๕ สามารถจัดเตรียมเครื่องมือ เครื่องใช้สำหรับการตรวจสวนหัวใจและหลอดเลือดอย่างถูกต้อง และทันเวลา
๒.๖ ดูแลความพร้อมเครื่องมือ ตรวจสอบอุปกรณ์รถ Emergency ทดสอบเครื่อง Defibrillator ให้พร้อมใช้อยู่เสมอ มีการตรวจสอบยาที่จำเป็นในกรณีฉุกเฉินเพื่อช่วยชีวิต ตรวจสอบจำนวนยา วันหมดอายุและทำการจดบันทึก
๒.๗ มีการส่งต่องานการดูแลผู้ป่วยหลังการสวนหัวใจแก่แพทย์และพยาบาลในหอผู้ป่วย เพื่อจะได้รับการเตรียมพร้อมในการดูแลผู้ป่วยและปฏิบัติในแนวทางเดียวกันตามมาตรฐานวิชาชีพ
๒.๘ ป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรค ตามนโยบายที่โรงพยาบาลกำหนด
๒.๙ จัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ อำนวยความสะดวก และปลอดภัยแก่ผู้ป่วย ญาติและเจ้าหน้าที่
๓.o มีส่วนร่วมในการติดตามตัวชี้วัดของหน่วยงาน/โรงพยาบาล
๓. ด้านอื่นๆ
๓.๑ การพัฒนาวิชาชีพ และการพัฒนาตนเอง
|